การแต่งงานของชาวมุสลิม
ประเพณีการแต่งงานในศาสนาอิสลาม เริ่มจากการสู่ขอ โดยมีเงื่อนไขว่าต้องสู่ขอสตรีที่สามารถแต่งงานได้ด้วยเท่านั้น หมายถึงหญิงที่ไม่ได้อยู่ระหว่าง อิดดะฮ (อยู่ในช่วงสามเดือนแรกของการหย่าร้าง) หรือหญิงสามีตาย (ซึ่งต้องรอจนครบสี่เดือนกับสิบวันเสียก่อนจึงจะสู่ขอได้) เมื่อฝ่ายหญิงตอบตกลงและกำหนดมะฮัร คือเงินที่ฝ่ายชายมอบให้ฝ่ายหญิง ตามที่ฝ่ายหญิงเรียกร้องและเงินนั้นจะเป็นสิทธิ์ของฝ่ายหญิงแต่เพียงผู้เดียว) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็ต้องหาวันแต่งงานตามสะดวก วันแต่งงานเจ้าบ่าวจะต้องยกของหมั้นหรือมะฮัรมาที่บ้านเจ้าสาว หรือนัดวะลีย์และพยานทั้งสองฝ่ายไปเจอกันที่มัสยิดก็ได้
ถึงวันทำพิธีผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงจะเชิญโต๊ะอิหม่ามหรือโต๊ะครูเป็นประธาน
และทำพิธีนิยมทำที่บ้านเจ้าสาวเมื่อเจ้าบ่าวและผู้ใหญ่มาถึงบ้านเจ้าสาว
บิดาของเจ้าสาวก็จะไปขอความยินยอมจากเจ้าสาว (ขณะนั้นเจ้าสาวอยู่ในห้อง) โดยบิดาเจ้าสาวกล่าวว่า “ข้าจะแต่งงานเจ้ากับ…(ออกชื่อเจ้าบ่าว) เจ้าจะยินยอมหรือไม่” เจ้าสาวจะให้คำตอบ
ถ้าไม่ยินยอมพิธีจะดำเนินไปไม่ได้ถือว่าผิดหลักศาสนา
จากนั้นบิดาฝ่ายเจ้าสาวก็มอบภารกิจ (วอเก) การแต่งงานให้กับโต๊ะอิหม่ามโดยกล่าวว่า คำเสนอของวะลีย์ คือคำกล่าวของผู้ปกครองฝ่ายเจ้าสาวเพื่อให้เจ้าบ่าวยอมรับการแต่งงานครั้งนี้
สิ่งที่อิสลามห้ามใครทำและเป็นโทษมหันต์ คือ การเชื่อถือโชคลาง เพราะเป็นเรื่องผิดหลักศาสนาอย่างไม่ควรให้อภัย คนอิสลามจะแต่งงานกันเมื่อไหร่ก็ได้ ยิ่งแต่งงานกันในวันที่คนอื่นไม่แต่งยิ่งดีเพราะเป็นการพิสูจน์ว่าเราไม่เชื่อเรื่องฤกษ์ยาม อีกประการหนึ่งที่ชาวมุสลิมบางพื้นที่อาจลืมก็คือ การแต่งงานของอิสลามจะไม่มีการแห่ใดๆ ทั้งสิ้น ถ้าเห็นมุสลิมแต่งงานแล้วมีการแห่ นั่นคือการแต่งงานของมุสลิมที่ไม่ใช้อิสลาม อิสลามไม่อนุญาตให้คู่รักต่างศาสนาแต่งงานกัน แต่ถ้ารักกันจริงๆ ต้องเข้าไปเป็นอิสลามก่อน โดยการเรียนรู้ศานาให้เข้าใจถึงหลักของอิสลามโดยถ่องแท้จากผู้รู้ เพราะไม่อย่างนั้นจะไม่เข้าสู่เงื่อนไข 5 ข้อของการแต่งงานตามหลักอิสลาม และถ้าเจ้าสาวนับถือศาสนาอื่นก่อนมารับถือศาสนาอิสลาม หรือคนในครอบครัวยังคงนับถือศาสนาเดิมอยู่ ก่อนการแต่งงานจะต้องแต่งตั้งผู้อื่นให้ทำหน้าที่ผู้ปกครองแทน ผู้แทนอาจเป็นครูที่สอนศาสนาให้ก็ได้ หรือเป็นผู้รู้ที่เคารพนับถือก็ได้ การแต่งงาน เป็นผลตอบสนองทางด้านอารมณ์และจิตใจ ที่มีจากความรักใคร่และความเสน่หา ทั้งจากรูปลักษณ์ภายนอก ความดีจากภายใน และยังเป็นวิถีของการดับอารมณ์เครียดในตัวมนุษย์ที่พึงจะมี อีกทั้งการแต่งงานยังถือเป็นหนทางการพัฒนาจากระดับความใคร่ ไปสู่ความรักอันกลมเกลียวในครอบครัว ศาสนิกชนบางท่านอาจเลือกที่จะไม่แต่งงาน แต่ในความเป็นจริงหากใครมีโกาสได้แต่งงาน ผู้นั้นถือว่าเป็นผู้ที่เชื่อฟังคำสอนของพระอัลเลาห์ได้อย่างสมบูรณ์ การแต่งงานในศาสนาอิสลามถือว่าเป็นเรื่องจริงจัง เพราะการแต่งงานคือพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ ที่เกิดจากความยินยอม ของทั้งฝ่ายหญิงและฝ่ายชายที่จะมาอยู่ร่วมกัน เพราะศาสนาอิสลามถือว่า คู่ครอง ที่แต่งงานด้วย คือเนื้อคู่กันที่จะอยู่ด้วยกันไปจนวันตาย และการแต่งงาน ถือว่าเป็นการปฎิบัติ ตามคำสอน ของพระเจ้าอย่างสมบูรณ์ ไปแล้ว ครึ่งหนึ่ง
มีหลักใหญ่ใจความว่า"ฉันนิกาฮท่าน (ชื่อเจ้าบ่าว) กับลูกสาว
(ชื่อเจ้าสาว) ด้วยมะฮัรที่ตกลงกันไว้"
เมื่อวะลีย์กล่าวคำเสนอจบแล้ว เจ้าบ่าวต้องกล่าวคำสนองว่า "ผมรับการนิกาหกับนางสาว (ชื่อเจ้าสาว) ด้วยมะฮัรตามที่ตกลงไว้" หลังจากนั้นจะมีการอ่านคัมภีร์อัลกรุอาน (บทที่ว่าด้วยการครองเรือน) ให้บ่าวสาวฟังเพียงแค่้นี้ ฝ่ายชายมอบให้ฝ่ายหญิง ตามที่ฝ่ายหญิงเรียกร้องและเงินนั้นจะเป็นสิทธิ์ของฝ่ายหญิงแต่เพียงผู้เดียว) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็ต้องหาวันแต่งงานตามสะดวก วันแต่งงานเจ้าบ่าวจะต้องยกของหมั้นหรือมะฮัรมาที่บ้านเจ้าสาว หรือนัดวะลีย์และพยานทั้งสองฝ่ายไปเจอกันที่มัสยิดก็ได้ฝ่ายชายมอบให้ฝ่ายหญิง ตามที่ฝ่ายหญิงเรียกร้องและเงินนั้นจะเป็นสิทธิ์ของฝ่ายหญิงแต่เพียงผู้เดียว) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็ต้องหาวันแต่งงานตามสะดวก วันแต่งงานเจ้าบ่าวจะต้องยกของหมั้นหรือมะฮัรมาที่บ้านเจ้าสาว หรือนัดวะลีย์และพยานทั้งสองฝ่ายไปเจอกันที่มัสยิดก็ได้แล้วเรียกเจ้าบ่าวเจ้าสาวและพยาน 2 คน พร้อมด้วยผู้จดบันทึกหลักฐาน จากนั้นโต๊ะอิหม่าม หรือผู้ทำพิธีนิกะห์ จะสอนเจ้าบ่าวเจ้าสาวเกี่ยวกับการครองชีวิตคู่ ย้ำเจ้าบ่าวเจ้าสาว พยานเงินสินสอด เสร็จแล้วโต๊ะอิหม่ามจะจับมือเจ้าบ่าวพร้อมกับกล่าวว่า “โอ้..(ออกชื่อเจ้าบ่าว) ที่แต่งงานกับ…(ออกชื่อเจ้าสาว) โดยได้รับการมอบฉันทะจากบิดาฝ่ายหญิงแก่ข้าโดยมีค่าสินสอด..(บอกจำนวนสินสอด)” เมื่อโต๊ะอิหม่ามกล่าวจบแล้วเจ้าบ่าวจะกล่าวรับว่า “ข้าพเจ้ายอมรับการแต่งงานนี้ โดยมีสินสอดจำนวนดังกล่าวนี้” จากนั้นโต๊ะอิหม่ามจะอ่านดูอา เพื่อให้พระอัลลอฮ์ทรงประธานพรแก่คู่บ่าวสาว เสร็จแล้วโต๊ะอิหม่ามจะบอกหลักของการเป็นสามีภรรยาแก่เจ้าบ่าวว่าตามหลักศาสนานั้นผู้เป็นสามีต้องดูแลภรรยาและอยู่รวมกันตามหน้าที่ของสามี
เมื่อวะลีย์กล่าวคำเสนอจบแล้ว เจ้าบ่าวต้องกล่าวคำสนองว่า "ผมรับการนิกาหกับนางสาว (ชื่อเจ้าสาว) ด้วยมะฮัรตามที่ตกลงไว้" หลังจากนั้นจะมีการอ่านคัมภีร์อัลกรุอาน (บทที่ว่าด้วยการครองเรือน) ให้บ่าวสาวฟังเพียงแค่้นี้ ฝ่ายชายมอบให้ฝ่ายหญิง ตามที่ฝ่ายหญิงเรียกร้องและเงินนั้นจะเป็นสิทธิ์ของฝ่ายหญิงแต่เพียงผู้เดียว) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็ต้องหาวันแต่งงานตามสะดวก วันแต่งงานเจ้าบ่าวจะต้องยกของหมั้นหรือมะฮัรมาที่บ้านเจ้าสาว หรือนัดวะลีย์และพยานทั้งสองฝ่ายไปเจอกันที่มัสยิดก็ได้ฝ่ายชายมอบให้ฝ่ายหญิง ตามที่ฝ่ายหญิงเรียกร้องและเงินนั้นจะเป็นสิทธิ์ของฝ่ายหญิงแต่เพียงผู้เดียว) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็ต้องหาวันแต่งงานตามสะดวก วันแต่งงานเจ้าบ่าวจะต้องยกของหมั้นหรือมะฮัรมาที่บ้านเจ้าสาว หรือนัดวะลีย์และพยานทั้งสองฝ่ายไปเจอกันที่มัสยิดก็ได้แล้วเรียกเจ้าบ่าวเจ้าสาวและพยาน 2 คน พร้อมด้วยผู้จดบันทึกหลักฐาน จากนั้นโต๊ะอิหม่าม หรือผู้ทำพิธีนิกะห์ จะสอนเจ้าบ่าวเจ้าสาวเกี่ยวกับการครองชีวิตคู่ ย้ำเจ้าบ่าวเจ้าสาว พยานเงินสินสอด เสร็จแล้วโต๊ะอิหม่ามจะจับมือเจ้าบ่าวพร้อมกับกล่าวว่า “โอ้..(ออกชื่อเจ้าบ่าว) ที่แต่งงานกับ…(ออกชื่อเจ้าสาว) โดยได้รับการมอบฉันทะจากบิดาฝ่ายหญิงแก่ข้าโดยมีค่าสินสอด..(บอกจำนวนสินสอด)” เมื่อโต๊ะอิหม่ามกล่าวจบแล้วเจ้าบ่าวจะกล่าวรับว่า “ข้าพเจ้ายอมรับการแต่งงานนี้ โดยมีสินสอดจำนวนดังกล่าวนี้” จากนั้นโต๊ะอิหม่ามจะอ่านดูอา เพื่อให้พระอัลลอฮ์ทรงประธานพรแก่คู่บ่าวสาว เสร็จแล้วโต๊ะอิหม่ามจะบอกหลักของการเป็นสามีภรรยาแก่เจ้าบ่าวว่าตามหลักศาสนานั้นผู้เป็นสามีต้องดูแลภรรยาและอยู่รวมกันตามหน้าที่ของสามี
สิ่งที่อิสลามห้ามใครทำและเป็นโทษมหันต์ คือ การเชื่อถือโชคลาง เพราะเป็นเรื่องผิดหลักศาสนาอย่างไม่ควรให้อภัย คนอิสลามจะแต่งงานกันเมื่อไหร่ก็ได้ ยิ่งแต่งงานกันในวันที่คนอื่นไม่แต่งยิ่งดีเพราะเป็นการพิสูจน์ว่าเราไม่เชื่อเรื่องฤกษ์ยาม อีกประการหนึ่งที่ชาวมุสลิมบางพื้นที่อาจลืมก็คือ การแต่งงานของอิสลามจะไม่มีการแห่ใดๆ ทั้งสิ้น ถ้าเห็นมุสลิมแต่งงานแล้วมีการแห่ นั่นคือการแต่งงานของมุสลิมที่ไม่ใช้อิสลาม อิสลามไม่อนุญาตให้คู่รักต่างศาสนาแต่งงานกัน แต่ถ้ารักกันจริงๆ ต้องเข้าไปเป็นอิสลามก่อน โดยการเรียนรู้ศานาให้เข้าใจถึงหลักของอิสลามโดยถ่องแท้จากผู้รู้ เพราะไม่อย่างนั้นจะไม่เข้าสู่เงื่อนไข 5 ข้อของการแต่งงานตามหลักอิสลาม และถ้าเจ้าสาวนับถือศาสนาอื่นก่อนมารับถือศาสนาอิสลาม หรือคนในครอบครัวยังคงนับถือศาสนาเดิมอยู่ ก่อนการแต่งงานจะต้องแต่งตั้งผู้อื่นให้ทำหน้าที่ผู้ปกครองแทน ผู้แทนอาจเป็นครูที่สอนศาสนาให้ก็ได้ หรือเป็นผู้รู้ที่เคารพนับถือก็ได้ การแต่งงาน เป็นผลตอบสนองทางด้านอารมณ์และจิตใจ ที่มีจากความรักใคร่และความเสน่หา ทั้งจากรูปลักษณ์ภายนอก ความดีจากภายใน และยังเป็นวิถีของการดับอารมณ์เครียดในตัวมนุษย์ที่พึงจะมี อีกทั้งการแต่งงานยังถือเป็นหนทางการพัฒนาจากระดับความใคร่ ไปสู่ความรักอันกลมเกลียวในครอบครัว ศาสนิกชนบางท่านอาจเลือกที่จะไม่แต่งงาน แต่ในความเป็นจริงหากใครมีโกาสได้แต่งงาน ผู้นั้นถือว่าเป็นผู้ที่เชื่อฟังคำสอนของพระอัลเลาห์ได้อย่างสมบูรณ์ การแต่งงานในศาสนาอิสลามถือว่าเป็นเรื่องจริงจัง เพราะการแต่งงานคือพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ ที่เกิดจากความยินยอม ของทั้งฝ่ายหญิงและฝ่ายชายที่จะมาอยู่ร่วมกัน เพราะศาสนาอิสลามถือว่า คู่ครอง ที่แต่งงานด้วย คือเนื้อคู่กันที่จะอยู่ด้วยกันไปจนวันตาย และการแต่งงาน ถือว่าเป็นการปฎิบัติ ตามคำสอน ของพระเจ้าอย่างสมบูรณ์ ไปแล้ว ครึ่งหนึ่ง
คะแนนที่ได้ 20 คะแนน
ตอบลบสามารถจัดภาพประกอบเรียงความได้ดีค่ะ แต่ถ้าจะให้คะแนนเพิ่มขึ้น ควรปรับปรุงดังนี้
1. คำนำของบทความสั้นเกินไป
2. ส่วนสรุปยังขาดความเป็นเอกภาพ ไม่สัมพันธ์กับเนื้อหา และควรเพิ่มเรื่องให้ยาวกว่านี้
โปรดปรับปรุงภายใน 1 สัปดาห์ ( แก้ไขเสร็จแล้ว แจ้งให้คุณครูทราบด้วยนะค่ะ )
คะแนนที่ได้ 25 คะแนน
ตอบลบภาพประกอบเรียงความได้ดีค่ะ แต่ถ้าจะให้คะแนนเพิ่มขึ้น ควรปรับปรุงดังนี้
1. คำนำของเรื่องยังสั้นอยู่ ควรให้น่าสนใจกว่านี้นะค่ะ
2. จัดเรียง คำนำ เนื้อเรื่อง สรุป ให้ชัดเจนกว่านี้
โปรดปรับปรุงภายใน 1 สัปดาห์ ( แก้ไขเสร็จแล้ว แจ้งให้คุณครูทราบด้วยนะค่ะ )
ครั้งที่สาม ส่งแล้วน่ะคะ
ตอบลบ